ทีมวิจัยปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรีย์
ทางการเกษตร
ข้อมูลเกี่ยวกับทีมวิจัย
ทีมวิจัยปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ทางการเกษตรมีจุดมุ่งหมายในการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเชื้อราในประเทศไทย เพื่อนำสู่การประยุกต์ใช้ทรัพยากรเชื้อราจาธรรมชาติในทางการเกษตร และการเข้าถึงได้โดยสถาบันทางการศึกษาและวิจัยอื่นๆ ปัจจุบัน ทีมวิจัยเน้นการศึกษาเชื้อราทำลายแมลงและเห็ดราไมคอร์ไรซา รวมถึงเห็ดกินได้เป็นหลักเนื่องจากเชื้อราดังกล่าวนี้มีศักยภาพในการประยุกต์ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตร นอกเหนือจากงานวิจัยแล้วทีมวิจัยปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ทางการเกษตรมีความภาคภูมิใจในการมีส่วนร่วมต่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของเชื้อราและการประยุกต์ใช้ สู่ชุมชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยอื่นๆรวมถึงการฝึกงานนักศึกษาในทุกระดับงานวิจัยในปัจจุบันมีดังต่อไปนี้
งานวิจัยของเราเน้นการศึกษาอนุกรมวิธานและการจัดจำแนกเชื้อราทำลายแมลงด้วยเทคนิคเชิงโมเลกุล โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์จากหลายยีน การศึกษาลักษณะทางสัณฐาน
เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของลักษณะทางสัณฐาน และทางนิเวศวิทยากรอบการวิจัยดังกล่าวถูกนำไปใช้ศึกษาเห็ดกินได้ และเห็ดราไมคอร์ไรซา
เนื่องจากการศึกษาอนุกรมวิธานและวงศ์วานวิวัฒนาการโดยใช้เครื่องหมายทางพันธุกรรมทั่วไปอาจมีข้อจำกัด ในการระบุและค้นพ้นพันธ์ุใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มพันธุ์ที่มีความซับซ้อน (species complex)
ซึ่งเป็นกลุ่มพันธุ์ที่ใกล้เคียงกันทางพันธุกรรมและมีลักษณะทางสัณฐานที่สับสน ทีมวิจัยจึงได้พัฒนากรอบงานวิจัยทางด้านจีโนมิคส์เพื่อใช้จำกัดขอบเขตและระบุสายพันธุ์ ผ่านการหาความสอดคล้อง (concordance) ระหว่างเครื่องหมายทางพันธุกรรมแบบ Single NucleotidePolymorphisms (SNPs)
โดยใช้ข้อมูลระดับทั้งจีโนม นอกจากนี้ เพื่อสร้างพื้นฐานสำหรับการศึกษาของเชื้อราเหล่านี้ในอนาคต ทีมวิจัยทำการศึกษาจีโนมิคส์เชิงเปรียบเทียบในเชื้อราสายพันธุ์ที่มีความน่าสนใจ
ทีมวิจัยศึกษาโปรไฟล์สารทุติยภูมิจากสารสกัดของเชื้อรา เพื่อศึกษาความหลากหลายทางเคมี เพื่อใช้จัดจำแนกกลุ่มและพันธุ์เชื้อรา เป็นข้อมูลสนับสนุนการศึกษาอนุกรมวิธานด้วยเทคนิคเชิงโมเลกุลในกลุ่มเชื้อราที่มีความน่าสนใจ
Best oral presentation award to Dr. Wilawan Kuephadungphan, Asian Mycological Congress (AMC) 2019, Tsu, Mie, Japan, 1–4 October 2019.
2020
Thanakitpipattana D, Tasanathai K, Mongkolsamrit S, Khonsanit A, Lamlertthon S, Luangsa-ard J. 2020. Fungal pathogens occurring on Orthopterida in Thailand. Persoonia 44: 140-160.
Khonsanit A, Thanakitpipattana D, Luangsa-ard J, Kobmoo N. 2020. Cryptic diversity of the genus Beauveria with a new species from Thailand. Mycological Progress, In press.
2019
Helaly SE, Kuephadungphan W, Phainuphong P, Mahmoud A. A. Ibrahim MAA, Tasanathai K,
Mongkolsamrit S, Luangsa-ard JJ, Souwalak Phongpaichit S, Rukachaisirikul V, Stadler M. 2019. Pigmentosins from Gibellula sp. as antibiofilm agents and a new glycosylated asperfuran from Cordyceps javanica. Beilstein J. Org. Chem. 15: 2968–2981. doi:10.3762/bjoc.15.293
Kobmoo N, Mongkolsamrit S, Arnamnart N, Luangsa-Ard JJ, Giraud, T. 2019. Population
genomics revealed cryptic species within host-specific zombie-ant fungi (Ophiocordyceps
unilateralis). Molecular Phylogenetics and Evolution 140: 106580. doi:
https://doi.org/10.1016/j.ympev.2019.106580
Mongkolsamrit S, Noisripoom W, Arnamnart N, Lamlertthon S, Himaman W, Jangsantear P,
Samson RA, Luangsa-ard JJ. 2019. Resurrection of Paraisaria in the Ophiocordycipitaceae with
three new species from Thailand. Mycological Progress 18:1213–1230
https://doi.org/10.1007/s11557-019-01518-x
Tasanathai K, Noisripoom W, Chaitika T, Khonsanit A, Hasin S, Luangsa-ard J. 2019. Phylogenetic and morphological classification of Ophiocordyceps species on termites from Thailand. MycoKeys 56: 101–129. https://doi.org/10.3897/mycokeys.56.37636
Kretz R, Wendt L, Wongkanoun S, Luangsa-ard JJ, Surup F,. Helaly SE, Noumeur SR, Stadler M,
Stradal TEB. 2019. The Effect of Cytochalasans on the Actin Cytoskeleton of Eukaryotic Cells and
Preliminary Structure–Activity Relationships. Biomolecules 9:73 ; doi:10.3390/biom9020073
Wongkanoun S, Wendt L, Stadler M, Luangsa-ard J, Srikittikulchai P. 2019. A novel species and a new combination of Daldinia from Ban Hua Thung community forest in the northern part of
Thailand. Mycological Progress 18:553–564.
https://doi.org/10.1007/s11557-019-01469-3
P.W. Crous, J.J. Luangsa-ard, M.J. Wingfield, …P. Khamsuntorn, … S. Nuankaew, U. Pinruan, … S. Mongkolsamrit, … D. Thanakitpipattana, …J.Z. Groenewald. Fungal Planet description sheets:
785– 867. Persoonia 41, 2018: 238 – 417.
2018
Kijpornyongpan T, Urbina H, Suh S-O, Luangsa-ard J, Aime MC, Blackwell M. 2018. The Suhomyces clade: from single isolate to multiple species to disintegrating sex loci. FEMS Yeast Research, 19, 2019, foy125. doi: 10.1093/femsyr/foy125.
Kobmoo N, Wichadakul D, Arnamnart N, Rodrigues de La Vega RC, Luangsa-ard JJ, Giraud T. 2018. A genome scan of diversifying selection in Ophiocordyceps zombie‐ant fungi suggests a role for enterotoxins in co‐evolution and host specificity. Molecular Ecology 1–17. DOI:
10.1111/mec.14813
Kuephadungphan W, Macabeo APG, Luangsa-ard JJ, Tasanathai K, Thanakitpipattana D,
Phongpaichit S, Yuyama K, Stadler M. 2018. Studies on the biologically active secondary
metabolites of the new spider parasitic fungus Gibellula gamsii. Mycol Prog 18:135-146. Published online since Aug 2018. https://doi.org/10.1007/s11557-018-1431-4
Khonsanit A, Luangsa-ard J, Thanakitpipattana D, Kobmoo N, Piasai O. 2018. Cryptic species
within Ophiocordyceps myrmecophila complex on formicine ants from Thailand. Mycological
Progress 18:147-161. Published online since 09 June 2018. https://link.springer.com/article/10.1007%2Fs11557-018-1412-7
Rupcic Z, Chepkirui C, Hernández-Restrepo M, Crous PW, Luangsa-ard JJ, Stadler M. 2018. New
nematicidal and antimicrobial secondary metabolites from a new species in the new genus,
Pseudobambusicola thailandica. MycoKeys 33: 1–23. doi: 10.3897/mycokeys.33.23341.
Mongkolsamrit S, Noisripoom W, Thanakitpipattana D, Wutikhun T, Spatafora JW, Luangsa-ard JJ. 2018. Disentangling cryptic species with Isaria-like morphs in Cordycipitaceae. Mycologia 110:230-257. https://doi.org/10.1080/00275514.2018.1446651
Luangsa-ard JJ, Tasanathai K, Thanakitpipattana D, Khonsanit A, Stadler M. 2018. Novel and
interesting Ophiocordyceps spp (Ophiocordycipitaceae, Hypocreales) with superficial perithecia from Thailand. Studies in Mycology 89: 125-142. https://doi.org/10.1016/j.simyco.2018.02.001
นักวิจัยอาวุโส(หัวหน้าทีมวิจัย)
นักวิจัย
นักวิจัย
นักวิจัยหลังปริญญาเอก
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ
เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ
ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย
ผู้ช่วยปฏิบัติงานวิจัย
ทีมวิจัยปฏิสัมพันธ์ของจุลินทรีย์ทางการเกษตร
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชและการจัดการแบบบูรณาการ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
Email: acbg-apmt@biotec.or.th
Tel: 66 2564 6700 Ext 3202-4
Fax: 66 2564 6707